Case Study

article-cover
  • AIHealthcare
  • Case Study

คลินิกสูตินรีเวชนำเทคโนโลยี AI มาช่วยแก้ปัญหาการสื่อสาร Patient engagement และบริหารจัดการภายในคลินิก

คลินิกสูตินรีเวช ในเมืองดอลตัล รัฐจอร์เจีย 2 แห่ง ครอบคลุมผู้ป่วยจำนวน 80,000 คน โดย ก่อนหน้านี้ คลินิกยังใช้ระบบการจัดการเวชระเบียนและการบริหารจัดการคลินิกที่ไม่สามารถเชื่อมต่ข้อมูลระหว่างกันได้ จึงพบปัญหาในการให้บริการของคลินิก ดังนี้  1.ปัญหาการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย โดย คลินิกไม่มีวิธีที่ให้ผู้ป่วยสามารถจัดการ การนัดหมาย, การเข้าถึงประวัติการรักษา, หรือการติดต่อกับแพทย์  2. ปัญหาการประสานงานการดูแลระหว่างสถานพยาบาลต่าง  เนื่องจาก ข้อมูลผู้ป่วยไม่ได้เชื่อมต่อกัน ทำให้การประสานงานการดูแลจากคลิ

article-cover
  • Case Study
  • AI in Healthcare
  • +1

Chicago นำ AI Provider Copilot มาช่วยลดภาวะ Burnout ของแพทย์

เครือข่ายโรงพยาบาลชั้นนำใน Chicago ได้นำ AI Provider Copilot มาเป็นผู้ช่วยลดภาระงานแพทย์เมื่อแพทย์ต้องใช้เวลากับงานเอกสารมากกว่าการดูแลผู้ป่วย ย่อมส่งผลเสียต่อทุกฝ่าย โรงพยาบาลนี้มี มากกว่า 300 เตียงและแพทย์กว่า 650 คน ต้องเผชิญกับปัญหานี้ทุกวัน จนได้เริ่มนำเทคโนโลยี AI ของ Innovaccer มาใช้ โรงพยาบาลสามารถปรับปรุงกระบวน การทำงาน ลดภาระงานด้านเอกสาร และให้บุคลากรโฟกัสกับสิ่งสำคัญที่สุด คือ การดูแลผู้ป่วย ปัญหาหลักที่โรงพยาบาลพบ • แพทย์ต้องเตรียมข้อมูลสำหรับตรวจผู้ป่วยด้วยตนเอง ทำให้เสียเวลาอ

article-cover
  • Case Study
  • AI in Healthcare
  • +1

Case study การนำ AI มาใช้ในการช่วยลดภาระแพทย์ในญี่ปุ่น

ปัญหาการทำงานของแพทย์ แพทย์ในญี่ปุ่นมีเวลาทำงานที่ยาวนาน ซึ่งสาเหตุหลักมาจาการต้องให้บริการการรักษาฉุกเฉินและการทำงานด้านเอกสาร เช่น การกรอกข้อมูลในระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) ซึ่งเป็นงานที่ต้องทำหลังจากการรักษาผู้ป่วยแล้ว จากการสำรวจพบว่าแพทย์กว่า 37.8% ทำงานล่วงเวลาเกิน 960 ชั่วโมงต่อปี กราฟแท่งที่เปรียบเทียบชั่วโมงการทำงานล่วงเวลาของคนทั่วไปและแพทย์ในญี่ปุ่น โดยเปรียบเทียบจำนวนชั่วโมงทำงานต่อปีระหว่างคนทั่วไปและแพทย์ โดยมีระดับของชั่วโมงทำงานล่วงเวลาต่าง ๆ ดังนี้: • คนทั่วไป: 720 ช