บทความทั้งหมด

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)

โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคนอนไม่หลับเป็นปัญหาที่พบได้ในทุกเพศทุกวัย แม้ว่าโรคนี้จะไม่ได้รุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่ก็ส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน และคุณภาพชีวิตได้ สาเหตุการเกิดโรคเกิดได้จากหลายปัจจัย คือ * ปัจจัยด้านร่างกาย มีอาการป่วยที่มีส่วนทำให้เกิดโรค เช่น โรคขาอยู่ไม่สุข (Restless legs syndrome) โรคกรดไหลย้อน ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ นอกจากนี้ยังเกิดจากสภาวะของร่างกายตามอายุ เช่น การหมดประจำเดือน รวมไปถึงอาการเหนื่อยล้าจากการทำงาน * ปัจจัยด้านจิตใจ สภาวะความเครียด ความวิตกกังวลมีผลทำใ

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะถอนพิษสุรา (Alcohol withdrawal syndrome)

ภาวะถอนพิษสุรา (Alcohol withdrawal syndrome)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะถอนพิษสุรา เกิดขึ้นเมื่อผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากเป็นประจำหยุดดื่มแอลกอฮอล์หรือลดปริมาณการดื่มลงอย่างฉับพลัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาทในสมอง จนเกิดอาการถอนสุราตามมา อาการของโรค อาการมักเกิดขึ้นหลังจากหยุดดื่มแอลกอฮอล์ 24-72 ชั่วโมง โดยอาการผิดปกติจะแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ 1. อาการถอนสุราระดับเริ่มต้น (Simple withdrawal state) ผู้ป่วยจะมีอาการตัวสั่น มือสั่น เหงื่อออก ชีพจรเร็ว ร่วมกับมีอารมณ์หงุดหงิด คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพล

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)

ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium) หรือภาวะเพ้อ คือ ภาวะที่สมองทำงานบกพร่องกระทันหันทำให้เกิดอาการสับสน กระวนกระวาย และระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ความคิด ความจำและสมาธิเสียไป รวมทั้งก่อให้เกิดอาการทางพฤติกรรมต่างๆตามมา เช่น วุ่นวาย นอนไม่หลับ ซึมเศร้า วิตกกังวล ภาวะเพ้อเกิดได้จากหลายปัจจัย ทั้งที่เป็นปัจจัยจากร่างกาย ปัจจัยทางด้านจิตใจ และปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ * ความผิดปกติในสมอง ได้แก่ เนื้องอกในสมอง โรคหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก ภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูงผิดป

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะผิดปกติที่เกิดจากสารเสพติด (Substance related disorder)

ภาวะผิดปกติที่เกิดจากสารเสพติด (Substance related disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค สารเสพติด เป็นสารที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของผู้ที่ใช้สาร โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ที่ทำให้เกิดความอยากเสพและการใช้สารนั้นซ้ำๆ จนหยุดเสพหรือลดปริมาณการใช้ไม่ได้ สามารถแบ่งกลุ่มสารเสพติดตามกลไกการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทได้ดังนี้ * สารกดประสาท (depressants) ได้แก่ ฝิ่น เฮโรอีน ยานอนหลับ สารระเหย ออกฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ผู้ใช้สารเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางช้าลง ระดับการรับรู้สติสัมปชัญญะลดลง * สารก

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder)

ภาวะอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะอารมณ์สองขั้วเป็นภาวะที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมาสลับกัน คือ อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ กับอารมณ์ซึมเศร้า พบได้ราวร้อยละ 2-5 ของประชากรทั่วไป โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาที่เกิดอารมณ์ซึมเศร้าบ่อยกว่าช่วงที่อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ปัจจุบันเชื่อว่าภาวะไบโพลาร์นี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น พันธุกรรม การทำงานที่ผิดปกติของสมอง และจากสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย เช่น การเลี้ยงดูในวัยเด็ก หรือความเครียดในชีวิตประจำวันที่กระตุ้นให้โรคแสดงอาการ อาการของโร

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • โรคจิตอารมณ์ (Mood disorder with psychotic feature unspecified)

โรคจิตอารมณ์ (Mood disorder with psychotic feature unspecified)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โรคจิตทางอารมณ์เป็นความผิดปกติ ซึ่งประกอบด้วยลักษณะสำคัญคือ มีความผิดปกติของอารมณ์เป็นอย่างมาก ได้แก่ ซึมเศร้ามาก อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ หรือหงุดหงิดมาก ร่วมกับอาการจิตเภทที่มีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง เช่น เห็นภาพหลอน หูแว่ว ระแวงคิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย เป็นต้น โรคจิตอารมณ์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ * Depressive type จะมีอาการซึมเศร้าร่วมกับอาการจิตเภท โดยจะมีอาการขึ้นลงเป็นช่วงๆ แต่มักไม่มีช่วงที่อาการหายเป็นปกติเลย การพยากรณ์โรคจึงแย่กว่าโรคซึม

article-cover
  • จิตใจ, อารมณ์
  • ภาวะจิตเภท (Psychotic disorder)

ภาวะจิตเภท (Psychotic disorder)

ภาวะจิตเภท คืออะไร?(Psychotic disorder) ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค ภาวะจิตเภท เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของความคิด ทำให้ผู้ป่วยมีความคิดและการรับรู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง ส่งผลเสียต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การดูแลตัวเอง การใช้ชีวิตในสังคม ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเริ่มเป็นเมื่ออายุประมาณ 14-16 ปี หรือช่วงปลายวัยรุ่น โรคนี้พบได้ ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร สาเหตุการเกิดโรคเชื่อว่ามีสาเหตุมาจากทั้งด้านร่างกายและจิตใจ คือ * ด้านร่างกาย จากความผิดปกติของสมอง ทั้งจากสารสื่อประสาทในสมอง หรือจากโค

article-cover
  • หน้าอก, หัวใจ
  • เต้านมอักเสบ (Mastitis)

เต้านมอักเสบ (Mastitis)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค เต้านมอักเสบ เกิดจากการติดเชื้อของเนื้อเยื่อเต้านม โดยเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปในท่อน้ำนมผ่านรอยแตกบริเวณหัวนม ส่วนมากมักเกิดขณะให้นมบุตร แต่สามารถเกิดได้ในหญฺิงทุกวัยจนถึงวัยหมดประจำเดือนได้ นอกจากนี้เต้านมอักเสบอาจเป็นอาการของโรคมะเร็งเต้านมได้อีกด้วย ปัจจัยเสี่ยงของเต้านมอักเสบคือ โรคเบาหวาน โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือมีโรคเรื้อรัง อาการของโรค เต้านมอักเสบมักมีอาการปวด บวม แดง ร้อน และอาจมีอาการร่วมดังนี้ * ปวดเมื่อยตัว * อ่อนเพลีย * มีไข้ หนาวสั่น * มีก

......