บทความทั้งหมด

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ภาวะหมดประจำเดือน/วัยทอง (Menopause)

ภาวะหมดประจำเดือน/วัยทอง (Menopause)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค วัยหมดประจำเดือน หรือวัยหมดระดู หมายถึง สตรีในวัย 40 – 59 ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ลดลงเนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน ซึ่งเป็นภาวะที่เกิดขึ้นในหญิงทุกคนตามธรรมชาติ ทำให้สิ้นสุดการมีประจำเดือนอย่างถาวรร่วมด้วยกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอื่นๆตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น อาการของโรค อาการระยะสั้น * ประจำเดือนมาไม่ปกติ มาติดกันหรือห่างจากกันมาก หรือเลือดออกช่องคลอดกะปริบกะปรอยได้ * อาการร้อนวูบวาบ * นอนไม่หลั

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • เนื้องอกมดลูก (Myoma uteri & Adenomyosis)

เนื้องอกมดลูก (Myoma uteri & Adenomyosis)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค เนื้องอกมดลูกเกิดจากการแบ่งเซลล์ผิดปกติของกล้ามเนื้อมดลูก พบบ่อยที่ช่วงอายุประมาณ 40 ปี สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด สันนิษฐานว่า เกิดจากกรรมพันธุ์ และปัจจัยด้านฮอร์โนเพศหญิง ดังนั้นสตรีวัยหมดประจำเดือนจึงมีขนาดของเนื้องอกฝ่อลงได้เอง เนื้องอกส่วนใหญ่ไม่ใช่มะเร็ง และมีโอกาสกลายเป็นมะเร็งน้อยกว่า 1% แบ่งเป็น 3 ชนิดใหญ่ๆ ตามตำแหน่งของเนื้องอก คือ เนื้องอกที่โตยื่นออกไปจากตัวมดลูก เนื้องอกที่โตในกล้ามเนื้อมดลูก และเนื้องอกที่โตเข้ามาในโพรงมดลูก อาการของโรค * มีเลือดประจำเ

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ภาวะประจำเดือนมาน้อยผิดปกติ

ภาวะประจำเดือนมาน้อยผิดปกติ (Oligomenorrhea)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค โดยทั่วไป รอบเดือนแต่ละรอบของผู้หญิงจะห่างกันประมาณ 21 - 35 วัน ภาวะประจำเดือนมาน้อยผิดปกติ คือ ภาวะที่มีการขาดประจำเดือน หรือประจำเดือนมาห่างกว่าปกติ อาจเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว และไม่ใช่สัญญาณอันตรายเสมอไป ส่วนใหญ่มักเกิดกับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ใกล้เข้าสู่วัยหมดประจำเดือน ตัวอย่างสาเหตุประจำเดือนมาน้อยอื่นๆ ได้แก่ * การตั้งครรภ์ ผู้ที่ตั้งครรภ์อาจมีเลือดออกจากช่องคลอดแบบกะปริบกะปรอยในช่วงแรก จากนั้นจะขาดประจำเดือนไป หากมีความเสี่ยงตั้งครรภ์ควรทำการตรวจการตั้งครรภ์

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • ปวดท้องประจำเดือน (Dysmenorrhea unspecified)

ปวดท้องประจำเดือน (Dysmenorrhea unspecified)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค อาการปวดท้องในช่วงเวลาที่มีประจำเดือนของสตรี อาจจะเริ่มปวดเมื่อใกล้ ๆ จะมีประจำเดือน หรือปวดขณะมีประจำเดือน ในทางการแพทย์จะแยกผู้ป่วยที่มีการปวดประจำเดือนนี้เป็นสองกลุ่มใหญ่ ดังนี้ * กลุ่มปฐมภูมิ ในกลุ่มนี้อาการปวดไม่มีสาเหตุจากพยาธิสภาพทางกายมาเกี่ยวข้อง อาการปวดมักจะเริ่มเป็นตั้งแต่ช่วงปีแรก หลังจากเริ่มมีประจำเดือน * กลุ่มทุติยภูมิ ในกลุ่มนี้จะเกี่ยวเนื่องกับพยาธิสภาพทางกาย เช่น มีถุงน้ำ หรือเนื้องอกบริเวณมดลูก ปีกมดลูก หรือในอุ้งเชิงกราน อาการปวดจะเริ่มเกิดขึ

article-cover
  • อวัยวะเพศ, ระบบสืบพันธุ์
  • เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis)

เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ หรือช็อกโกแลตซีสต์ (Chocolate Cyst) คือ ภาวะที่มีเยื่อบุผนังมดลูกไปเจริญอยู่ภายนอกมดลูก ทำให้เกิดเป็นเลือดประจำเดือนคั่งค้างในที่ต่างๆ ซึ่งร่างกายขับออกมาไม่ได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยอย่างรุนแรงในช่วงที่มีรอบเดือน รวมทั้งอาจส่งผลให้เกิดภาวะมีบุตรยากตามมา เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่มักเกิดขึ้นบริเวณรังไข่ ท่อนำไข่ หรือเนื้อเยื่อรอบๆ มดลูก บริเวณใกล้เคียงที่พบได้น้อยกว่า เช่น ลำไส้ กระเพาะปัสสาวะ หรือปากมดลูก ซึ่งก็จะทำให้มีอาการแสดง

article-cover
  • หน้าอก, หัวใจ
  • หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmia)

หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmia)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค หัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ ภาวะผิดปกติที่เกิดจากการก่อกำเนิดสัญญาณไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ หรือมีการนำสัญญาไฟฟ้าภายในห้องหัวใจผิดปกติ ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว เต้นช้า หรือเต้นไม่สม่ำเสมอ สาเหตุของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ 1. ภาวะที่เป็นมาแต่กำเนิดหรือเป็นโรคทางพันธุกรรม เช่น โรคใหลตาย (Brugada syndrome) 2. ภาวะที่เกิดขึ้นมาภายหลัง ซึ่งอาจส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ ได้แก่ * เกลือแร่ในเลือดผิดปกติ * โรคหัวใจชนิดต่างๆ เช่น ผนังหัวใจรั่ว หลอดเลือดหัวใจตีบตัน * การเสื่อม

article-cover
  • อื่นๆ
  • น้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)

น้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค น้ำตาลในเลือดต่ำ คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 mg/dl มักทำให้เกิดอาการใจสั่นอ่อนเพลีย ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใช้ยาลดน้ำตาลหรือยาฉีดอินซูลิน (Insulin) อาการของโรค ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีอาการที่แตกต่างกันไป อาการที่พบได้บ่อย ได้แก่ * เหงื่อแตกตัวเย็น * อ่อนเพลีย ไม่มีแรง * เวียนศีรษะ * ตาพร่ามัว * พูดจาสับสน * หากมีอาการรุนแรง อาจจะชัก หรือหมดสติได้ แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรค อาศัยประวัติที่เข้าได้กั

article-cover
  • หน้าอก, หัวใจ
  • ภาวะใจสั่น (Palpitation unspecified)

ภาวะใจสั่น (Palpitation)

ข้อมูลโรคและสาเหตุการเกิดโรค เป็นอาการที่รู้สึกว่าหัวใจเต้นไม่เป็นปกติ การเต้นของหัวใจขาดหายไป เต้นไม่เป็นจังหวะ เต้นไม่สม่ำเสมอ หรือเต้นเร็วกว่าปกติ เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุดังนี้ 1. เหตุจากยา เช่น ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง ยาพ่นรักษาหอบหืด ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมหรือสมุนไพรบางชนิด ยาเสพติดต่างๆ 2. โรคหัวใจ เช่น ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (Atrial Fibrillation), ลิ้นหัวใจมีปัญหา, โรคกล้ามเนื้อหัวใจชนิดที่มีกล้ามเนื้อหนากว่าปกติ 3. ภาวะทางร่างกายอื่น ๆ เช่น ระดับเกลือแร่ในเลือดผิดปกติ, ภาวะต่อมไทร

......